Long Covid imura Long หายแล้วต้องรักปอด Imura (อิมูร่า) คีโม Imura คีโม อิมูร่า

Long Covid imura Long หายแล้วต้องรักปอด Imura (อิมูร่า) คีโม Imura คีโม อิมูร่า

  • 0 ตอบ
  • 3071 อ่าน

    


ฟื้นตัวจาก Long covid

ด้วยการออกกำลังให้เหมาะสม  ระยะเวลา 5 สัปดาห์

โควิด หายแล้วต้องรักปอด ด้วย Imura (อิมูร่า) คีโม Imura  คีโม อิมูร่า





หลังจากปอดและร่างกายโดนทำร้ายจากอาการ Covid-19 และทำให้เกิดอาการข้างเคียงเรื้อรังเกิดขึ้น หนึ่งในวิธีการฟื้นตัวจาก Long Covid ได้รวดเร็ววิธีหนึ่งคือ การออกกำลังกายที่พอเหมาะพอดี กับสภาพร่างกายในแต่ละช่วงของการฟื้นตัว โดยแบ่งเป็น 5 ระยะด้วยกัน

Long Covid  สัปดาห์ที่ 1 หลังจากเพิ่งหายจาก Covid 19 ปอดจะมีความยืดหยุ่นอยู่น้อย จึงควรออกกำลังกายแบบเบาๆด้วยการเดินในระยะทางที่ไกล ให้ปอดทำงานได้ในระดับที่พอเหมาะ

สัปดาห์ที่ 2 เป็นสัปดาห์ที่ควรเริ่มออกกำลังกายเบาๆ เช่นทำงานบ้าน เล่นโยคะ เพื่อให้ร่างกายได้เคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง ในระดับที่ไม่เหนื่อย
.
สัปดาห์ที่ 3 ออกกำลังกายประเภทที่เคลื่อนไหวมากขึ้น ระดับที่ไม่เหนื่อยมาก เช่น วิ่งเยาะๆ การปั่นจักรยาน

สัปดาห์ที่ 4 เพิ่มระดับความหนักของการออกกำลังกายขึ้น โดยให้หนักสลับเบา เพื่อไม่ให้ร่างกายฝืนมากจนเกินไป และได้ออกกำลังกายอย่างเต็มที่

สัปดาห์ที่ 5 กลับมาออกกำลังกายปกติ และเพิ่มระดับความหนักเบาตามที่ร่างกายไหวได้เต็มที่

ข้างต้นเป็นคำแนะนำระดับความหนักเบาของการออกกำลังกาย หลังจากหายจาก Covid 19 เพื่อให้กล้ามเนื้อของร่างกาย และกล้ามเนื้อปอดได้มีการเคลื่อนไหวในลักษณะที่พอเหมาะ ไม่หักโหมจนเกินไป สามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลตัวเองได้เลยนะคะ

😊 ขอขอบคุณคำแนะนำจาก : โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

ให้การรักษาเป็นหน้าที่ของคุณหมอ ส่วนการดูแลและฟื้นฟูปอดให้เราช่วยดูแลนะคะ




โรคมะเร็ง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกและเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ โดยมะเร็งที่พบบ่อยเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่

มะเร็งปอด ต้องมีตัวช่วยอย่าง Imura (อิมูร่า) คีโม Imura

มะเร็งเต้านม

มะเร็งลำไส้ใหญ่

มะเร็งกระเพาะอาหาร


ส่วนมะเร็งที่เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่ง คือ

– มะเร็งปอด
– มะเร็งกระเพาะอาหาร
– มะเร็งตับ
– มะเร็งลำไส้ใหญ่


นอกจากนี้ยังมี โรคมะเร็ง ที่พบได้อีก เช่น มะเร็งตับอ่อน มะเร็งหลอดอาหาร มะเร็งปากมดลูก มะเร็งรังไข่ มะเร็งศีรษะและลำคอ มะเร็งกระดูก มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ การรักษามะเร็งด้วยยาเคมีบำบัดเป็นรูปแบบการรักษาที่สำคัญและเป็นการรักษาแรกที่นำมาใช้รักษาโรคมะเร็งที่ช่วยให้ผู้ป่วยกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงปกติอีกครั้ง

มะเร็งที่รักษาให้หายขาดได้
โรคมะเร็งที่รักษาให้หายขาดได้ (Curable Cancer) นั้น ส่วนใหญ่ถ้าสามารถวินิจฉัยได้ในระยะเริ่มแรก โดยมากจะรักษาให้หายขาดได้ด้วยการผ่าตัด เช่น โรคมะเร็งเต้านม โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นต้น แต่หากวินิจฉัยเมื่อโรคเป็นมากแล้วและมีการแพร่กระจายไปยังอวัยวะต่าง ๆ มักไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้

แต่ปัจจุบันด้วยความก้าวหน้าในการรักษาโรคมะเร็ง ทำให้โรคมะเร็งบางชนิดที่แม้มีการแพร่กระจายไปแล้วก็สามารถรักษาให้หายขาดได้ โดยโรคมะเร็งที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ (Curable) ด้วยยาเคมีบำบัด ประกอบไปด้วย
1. โรคมะเร็งอัณฑะ
2. โรคมะเร็งเนื้อรก หรือ Choriocacinoma
3. โรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองบางชนิด
4. โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวบางชนิด


วิธีการรักษาโรคมะเร็ง ทาน คีโม อิมูร่า ควบคู่การออกกำลังกาย  ช่วยบรรเทา

การรักษาโรคมะเร็งในปัจจุบันส่วนใหญ่จะเป็นการรักษาแบบ “สหสาขา” หมายถึง การรักษาโดยทีมแพทย์หลายสาขาร่วมกัน ประกอบด้วย
• แพทย์รังสีวินิจฉัย
• แพทย์รังสีร่วมรักษาช่วยในการวินิจฉัย การตัดชิ้นเนื้อเพื่อการวินิจฉัย การฉีดยาเคมีบำบัดเข้าสู่เส้นเลือดแดงที่เลี้ยงก้อนมะเร็งโดยตรง
• ศัลยแพทย์โรคมะเร็งที่ทำการผ่าตัดเอาก้อนมะเร็งออก
• แพทย์ทางรังสีรักษาที่ให้การรักษาด้วยแสงรังสีรักษา
• อายุรแพทย์มะเร็งวิทยาที่ให้การรักษาทางยา ซึ่งประกอบไปด้วย
◦ การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด (Chemotherapy) นับเป็นการรักษาหลักของการรักษาทางยาที่ใช้มากที่สุดในการรักษาโรคมะเร็งปัจจุบัน  โดยยาเคมีบำบัด (Chemotherapy) อาจใช้เป็นการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดอย่างเดียว หรืออาจใช้ยาเคมีบำบัดร่วมกับรังสีรักษาที่เรียกว่า Chemoradiation อาจใช้ยาเคมีบำบัดร่วมกับยามุ่งเป้า หรือยาภูมิคุ้มกันบำบัดได้ โดยขึ้นอยู่กับชนิดและระยะของโรคมะเร็ง
◦ การรักษาด้วยยาต้านฮอร์โมน (Hormonal Therapy) นับเป็นการรักษาที่ใช้รองลงมาจากการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
◦ การรักษาด้วยยามุ่งเป้า (Targeted Therapy)
◦ การรักษาด้วยภูมิคุ้มกันบำบัด (Immunotherapy) โดยการพยายามใช้ภูมิคุ้มกันในร่างกายต่อสู้กับเซลล์มะเร็ง

ระยะโรคมะเร็งและแนวทางการรักษา

วิธีการรักษาโรคมะเร็ง จะมีแนวทางการรักษาตามระยะของโรคมะเร็งโดยทั่วไปแบ่งเป็น 4 ระยะ ได้แก่
• โรคมะเร็งระยะที่ 1 – 2 คือ โรคมะเร็งระยะแรกที่สามารถผ่าตัดได้ หลังการผ่าตัดผู้ป่วยบางรายอาจจำเป็นต้องให้การรักษาเสริมภายหลังด้วยยาเคมีบำบัดและ / หรือยาต้านฮอร์โมน ที่เรียกว่า Adjuvant Treatment
• โรคมะเร็งระยะที่ 3 คือ โรคมะเร็งที่มักมีการลุกลามมากขึ้น โดยมีการกระจายไปต่อมน้ำเหลืองใกล้เคียงบางรายสามารถผ่าตัดได้ ศัลยแพทย์ก็จะผ่าตัดก่อน หลังการผ่าตัดผู้ป่วยบางรายอาจจำเป็นต้องให้การรักษาเสริมภายหลังด้วยยาเคมีบำบัด และ / หรือรังสีรักษา และ / หรือยาต้านฮอร์โมน  และ / หรือยามุ่งเป้า  เหตุผลที่มีการนำเอายาเคมีบำบัดและยาอื่น ๆ มาให้เสริมหลังผ่าตัดก็เพื่อลดอุบัติการณ์ของการกลับมาของโรคมะเร็งทั้งแบบเฉพาะที่และแบบแพร่กระจาย ซึ่งท้ายที่สุดจะเพิ่มระยะเวลาการรอดชีวิตของผู้ป่วย
ในบางรายที่โรคเป็นมากและการผ่าตัดอาจทำได้แต่ผลการรักษาอาจไม่ดีเนื่องจากขนาดก้อนเนื้องอกมีขนาดใหญ่จึงมีการนำเอายาเคมีบำบัดมาใช้รักษาในระยะเบื้องต้นก่อนการผ่าตัดเพื่อให้ก้อนเล็กลงทำให้ศัลยแพทย์สามารถผ่าตัดเก็บอวัยวะหรือผ่าตัดเก็บเต้านมได้ จากนั้นก็ให้การรักษาอื่นตามในภายหลัง

ในบางรายที่โรคเป็นมากและการผ่าตัดอาจทำได้แต่ผลการรักษาอาจไม่ดีเนื่องจากขนาดก้อนเนื้องอกมีขนาดใหญ่จึงมีการนำเอายาเคมีบำบัดมาใช้รักษาในระยะเบื้องต้นก่อนการผ่าตัดเพื่อให้ก้อนเล็กลงทำให้ศัลยแพทย์สามารถผ่าตัดเก็บอวัยวะหรือผ่าตัดเก็บเต้านมได้ จากนั้นก็ให้การรักษาอื่นตามในภายหลัง

• โรคมะเร็งระยะที่ 4 หรือ โรคมะเร็งระยะที่ 1 – 3 และมีการกลับมาของโรค ผู้ป่วยจะมีโรคลุกลามมากขึ้นและแพร่กระจายไปอวัยวะต่าง ๆ เช่น ปอด ตับ กระดูก สมอง และที่อื่น ๆ ซึ่งโรคมะเร็งระยะที่ 4 นี้ โรคมะเร็งบางชนิดสามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยยาเคมีบำบัด เช่น โรคมะเร็งอัณฑะ โรคมะเร็งเนื้อรก เป็นต้น

อย่างไรก็ตาม โรคมะเร็งระยะแพร่กระจาย นี้ส่วนมากรักษาไม่หายขาดแต่สามารถรักษาให้ดีขึ้นได้หากผู้ป่วยมีกำลังใจดีมีร่างกายที่แข็งแรงและมีภาวะโภชนาการที่ดีพอสมควร แพทย์จะสามารถให้การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด (Chemotherapy) ที่เป็นการรักษาหลักในการรักษาโรคมะเร็งระยะแพร่กระจาย โดยยาเคมีบำบัดจะไปหยุดการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ทั้งที่อยู่เฉพาะที่และที่แพร่กระจายไป ในปัจจุบันมีการนำยามุ่งเป้าหรือยาภูมิคุ้มกันบำบัดมาใช้ร่วมกับยาเคมีบำบัดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็ง หากการตอบสนองของผู้ป่วยต่อยาเคมีบำบัดและยาที่ใช้ร่วมด้วยนั้นได้ผลดี การรักษาก็จะเพิ่มระยะเวลาการรอดชีวิตของผู้ป่วยได้และคุณภาพชีวิตก็จะดีขึ้นตามไปด้วย
นอกจากนี้การรักษาอื่นๆของโรคมะเร็งระยะที่ 4 อาจเป็นการรักษาด้วยยาต้านฮอร์โมน การรักษาด้วยยามุ่งเป้า หรือ Targeted Therapy และ ภูมิคุ้มกันบำบัด (Immunotherapy) แล้วแต่ชนิดของโรคมะเร็ง

อย่างไรก็ตามหน้าที่การรักษาเป็นของคุณหมอ หน้าที่เตรียมร่างกายเป็นของเรา ให้อิมูร่าดูแลคุณในทุกก่อนและหลังการให้คีโม

imura Long หายแล้วต้องรักปอด หลังเกิด  Long Covid 
หายใจไม่เต็มปอด แค่เดินก็หอบ
ฟื้นฟู ซ่อมแซม สุขภาพปอดด้วย Resveratol
ลดการอักเสบ กระตุ้นการรักษาตัวของร่างกาย

เมื่อมีโรคร้ายมาทำร้ายปอด ไม่ว่าจะเป็น
🫁 การเสื่อมของเซลล์ปอดเพราะเชื้อโรคเข้าปอด
🫁 หรือหายจากโรคแล้ว แต่สภาพปอดยังไม่ฟื้นตัวได้เต็มที่
🫁 และจาก lifestyle การใช้ชีวิตที่เป็นผลเสียกับปอด
.
สาเหตุเหล่านี้ทำให้เซลล์ปอดเสื่อมหรือถูกทำลาย เมื่อปอดถูกทำร้ายเป็นผลให้ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ สูดหายใจเข้าเต็มที่ แต่ปอดรับออกซิเจนได้น้อยลง
.
😟 เกิดอาการ อ่อนล้า อ่อนเพลีย หายใจลำบาก
.
สารเรสเวอราทรอล (Resveratrol) คืออะไร? 
.
🍇 เรสเวอราทรอลพบได้ในอาหารทั่วไป เช่นในเมล็ดองุ่น บลูเบอรี่ แครนเบอรี่
.
😊 เรสเวอราทรอลมีประสิทธิภาพกระตุ้นให้ร่างกายรักษาตัวเอง จัดว่าเป็นหนึ่งในสาร “กันเสื่อม” ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งใน
Anti Aging ไปจนถึงการฟื้นฟูเซลล์ในร่างกายหลังอาการป่วย ลดการอักเสบ และยับยั้งการแพร่กระจายของเชื้อโรค 
เมื่อปอดของเราโดนทำร้าย ก็เหมือนมีบาดแผลเปิดที่ต้องการรักษาให้หายสนิท
.
ให้ I.M.U.R.A. ช่วยดูแล   Imura (อิมูร่า) 

คีโม อิมูร่า

เพื่อเสริมประสิทธิภาพให้ร่างกายซ่อมแซมเนื้อเยื่อบริเวณทางเดินหายใจ ลดการอักเสบ และฟื้นตัวได้เร็วขึ้น ด้วย Resveratrol (เรสเวอราทรอล) ที่ช่วยฟื้นฟูเนื้อเยื่อปอดให้คุณได้กลับมาสูดหายใจ รับออกซิเจนเต็มปอดได้อีกครั้ง

และยังมี CBD ช่วยเสริมให้คุณหลับสนิทเหมือนเด็กแรกเกิด พร้อมตื่นมาด้วย Enegy ที่เต็มเปี่ยม พร้อมลุยทุกกิจกรรมในวันนั้น

เลขที่ อย. : 1210516150077

ติดต่อ บ.มามาสิตา ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย I.M.U.RA ได้ที่ :

สอบถาม Call : 094-986-3178

ให้การรักษาเป็นหน้าที่ของคุณหมอ ส่วนการดูแลและฟื้นฟูปอดให้เราช่วยดูแลนะคะ 😊

https://www.imurathailand.com/imura-long/

TAG: Long Covid, imura Long,

หายแล้วต้องรักปอด, Imura ( Imura (อิมูร่า) ), คีโม